หรือสวนน้ำ เพราะทุกสิ่งมีชีวิตต่างต้องการอ๊อกซิเจน
เพราะปลาและแบคทีเรีย ที่มีความจำต้องใช้อ๊อกซิเจน
การเติมอากาศในกรองเพื่อให้กรองชีวภาพ
มีการทำงานที่เหมาะสม
การเติมอากาศมีความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของปลา
การเติมอากาศมีความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของปลา
รวมถึงการดูแลคุณภาพน้ำในบ่อ
เราสามารถเติมอ๊อกซิเจนให้เหมาะสมได้โดย
การใช้ปั้มลม หรือการสร้างน้ำตก และน้ำพุ
การเติมอากาศเป็นสิ่งที่ดีในระบบบ่อ
การเติมอากาศเป็นสิ่งที่ดีในระบบบ่อ
เพื่อเพิ่มอากาศหรืออ๊อกซิเจนโดยตรง
ลงในระบบกรองชีวภาพที่แบคทีเรียอาศัยอยู่
นี่คือสิ่งสำคัญสำหรับการเลี้ยงปลาในระบบปิด
ปริมาณอากาศที่เหมาะสมกับปริมาณน้ำ
ซึ่งเราอาจเติมอากาศแตกต่างกันไปตามระดับความหนาแน่นของปลา
ค่ามาตรฐานทั่วไปคือ 40lpm ต่อ 1000 แกลลอนซึ่งเป็นกฎง่ายๆ
การแปลงหน่วย 1 แกลลอนเท่ากับ 3.78541178 ลิตร
อ๊อกซิเจนในบ่อมาจาก 2 แหล่ง
1.การสังเคราะห์แสงของพืชน้ำ
2.การแพร่จากอากาศ
แหล่งที่สำคัญที่สุดคือการสังเคราะห์แสงเป็นพืช
ที่ใช้สำหรับกระบวนการผลิตอาหารของพืช
พืชน้ำโดยเฉพาะพวกสาหร่าย
การเพิ่มออกซิเจนในน้ำโดยสาหร่ายนั้นเป็นผลพลอยได้
จากการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย
แต่ในเวลากลางคืนพืชน้ำไม่สามารถผลิตอ๊อกซิเจนได้
แต่การหายใจของสาหร่าย ปลา และแบคทีเรีย
ยังคงใช้ออกซิเจนจากน้ำ
หากปลาได้รับอ๊อกซิเจนในปริมาณน้อย
ปลาจะมีความเครียด หรืออาจตายได้
ปริมาณออกซิเจนในน้ำในบ่อเลี้ยงในหนึ่งวันมีความแตกต่างกัน
โดยปกติแล้วความเข้มข้นของออกซิเจน
จะต่ำที่สุดในช่วงเช้ามืด และสูงสุดในช่วงเวลาบ่าย
ออกซิเจนสามารถละลายในน้ำได้น้อย
ออกซิเจนสามารถละลายในน้ำได้น้อย
นอกจากนั้นปริมาณอ๊อกซิเจน
ขึ้นอยู่กับความเค็ม ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ
ออกซิเจนสามารถละลายอยู่ในน้ำได้น้อยลง
เมื่อเพิ่มระดับความลึก ความเค็ม
อีกปัจจัยที่สำคัญที่ คืออุณหภูมิน้ำ
ณ อุณหภูมิสูงน้ำ ออกซิเจนจะมีปริมาณที่น้อยลง
ส่วนใหญ่ปัญหาออกซิเจนต่ำเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน
น้ำที่มีอุณหภูมิสูงก็จะมีอ๊อกซิเจนน้อยกว่าน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำ
ความต้องการอ๊อกซิเจนของพืชน้ำ และปลา
น้ำที่มีอุณหภูมิสูงก็จะมีอ๊อกซิเจนน้อยกว่าน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำ
ความต้องการอ๊อกซิเจนของพืชน้ำ และปลา
จะเพิ่มมากขึ้นในช่วงฤดูร้อน เพราะจำนวนของอาหาร
ที่ให้กับปลาในช่วงฤดูร้อนมีมาก เนื่องจากช่วงที่อาการอุ่น
ระบบการย่อยชองปลาจะทำงานได้สมบูรณ์
ดังนั้นเมื่อเราให้อาหารปลามากขึ้น
ของเสียในน้ำก็จะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
ความต้องการอ๊อกซืเจนของแบคทีเลียก็จะมีมากตามไปด้วย